วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 25 August 2015

Diary Note no.2
Substance

  • อาจารย์ตรวจดูบล็อคของนักศึกษา
  • เรียนเรื่อง พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Development)
-ความหมาย (Meaning)
หมายถึง ความเจริญงอกงามด้านความสามารถทางภาษา และ การคิดของแต่ละบุคคล พัฒนามาจากการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับ สิ่งแวดล้อม (Environment)

-เริ่มตั้งแต่เกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้เด็กรู้จัก "ตนเอง" (Self)

-การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลาและตลอดทั้งชีวิตให้เกิดความสมดุล (Equilibrium)

-ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพื่อให้เกิดความสมดุลกับสิ่งแวดล้อม
กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ประกอบด้วย 2 ประเภท

1.กระบวนการดูดซึม (Assimilation)
- Fitting a new experience it to an exisiting mental structure (schema).
  เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึบซับหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าในโครงสร้างของสติปัญญา โดยจะเป็นการตีความ

2.กระบวนการปรับโครงสร้าง (Accommodation)
- Revising and existing schema because of new experience.
  หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเดิมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ใหม่

สรุป (Synopsis)

สติปัญญาจึงเกิดจากการเริ่มแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล

เทคนิคการสอน (Techninal Education)

1.การใช้สื่อเทคโนโลยี
2.มีการตั้งคำถามเพื่อให้เด็กมีส่วนร่วม
3.สรุปองค์ความรู้มาในรูปแบบของ Power Point

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 

1.เข้าใจการเรียนรู้จากสื่อเทคโนโลยี
2.ได้ทักษะจากการตอบคำถาม

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 

สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปเป็นแนวทางในการพัฒนาสติปัญญาให้กับเด็กๆในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน (The atmosphere in the classroom)

ไม่สามารถนั่งจดบันทึกได้เพราะเป็นห้องสำหรับการทำกิจกรรมการเคลื่อนไหว

ประเมินตนเอง (Self-evaluation)

เนื่องจากนอนเขียนจึงทำให้เผลอหลับในบางครั้ง

ประเมินเพื่อน (Rating friends)

เพื่อนๆตั้งใจเรียน บางคนก็แอบหลับเช่นกัน

ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)

อาจารย์ตั้งใจสอน พยายามอำนวยความสะดวกให้กับนักศึกษาโดยการหาห้องเรียนให้ใหม่


Diary Note 17 August 2015

สรุปบทความ 

เรื่อง การทดลองทางวิทยาศาสตร์ (Science experiments)

         หมายถึง การจัดกิจกรรมให้เด็กปฐมวัยได้เรียนรู้ความคิดรวบยอดในเรื่องที่เรียนรู้ ด้วยการเปิดโอกาสให้เด็กได้ค้นหาคำตอบจากการปฏิบัติกิจกรรมด้วยตนเอง ผ่านประสบการณ์ตรงที่เป็นรูป ธรรม เน้นขั้นตอนการคิด การค้นคว้า การทดลอง และการสรุปผล


ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ (Basic Science skills) ที่ควรฝึกฝนให้เกิดกับเด็กปฐมวัยสามารถแยกได้เป็น 6 ประเภทดังนี้
  • ทักษะการสังเกต (Observing)
  • ทักษะการวัด (Measuring)
  • ทักษะการจำแนกประเภท (Classifying)
  • ทักษะการสื่อสาร (Communicating)
  • ทักษะการลงความเห็น (Inferring)
  • ทักษะการพยากรณ์ (Predicting)

            กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์เป็นการเรียนรู้ที่เน้นเด็กเป็นศูนย์ กลาง (Child – centered) และสะท้อนการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างองค์ความรู้ (Constructivism) โดยทั่วไปแล้วการจัดกิจ กรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์จะเป็นกิจกรรมที่ครูปฐมวัยจัดให้เด็กทำการทดลองสัปดาห์ละ 1 ครั้งตามหน่วยการเรียนรู้ เช่น การเรียนรู้หน่วยน้ำ ครูจะให้เด็กได้เรียนรู้ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสนทนาอภิปรายเกี่ยวกับประโยชน์ของน้ำ การสาธิตวิธีการกรองน้ำด้วยเครื่องกรองน้ำ การทดลองกรองน้ำด้วยวิธีการที่เด็กเลือ

การทดลองทางวิทยาศาสตร์มีประโยชน์ต่อเด็กอย่างไร?

  • ส่งเสริมให้เด็กได้พัฒนาความสามารถในการค้นคว้า สืบสอบสิ่งต่างๆ
  • ส่งเสริมให้เด็กมีความรู้เกี่ยวกับตนเอง และสิ่งต่างๆรอบตัวมากขึ้น 
  • ส่งเสริมให้เด็กมีทักษะในการแก้ปัญหา 
  • ส่งเสริมให้เด็กมีความรับผิดชอบในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 
  • ส่งเสริมให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์

ครูจัดกิจกรรมให้ลูกทดลองทางวิทยาศาสตร์ที่โรงเรียนอย่างไร?

         การเรียนรู้ หน่วยน้ำ ครูจัดกิจกรรมการทดลองวิธีการกรองน้ำให้สะอาด เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้มโนทัศน์เกี่ยวกับเรื่องวิธีการทำให้น้ำสะอาด จากการทดลองวิธีการกรองน้ำ ครูอาจจัดวัสดุอุปกรณ์ต่างๆเพื่อให้เด็กได้เลือกและค้นหาวิธีการที่เหมาะสมในการกรองน้ำ

วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 11 August 2015

** เนื่องจากวันนี้ไม่ได้เข้าเรียนจึงนำเนื้อหามาจากของเพื่อน

Diary Note no.1


Substance


Learning Outcomes

  • คุณธรรม จริยธรรม
  • ด้านความรู้
  • ด้านทักษะทางปัญญา
  • ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
  • ทักษะการใช้เทคโนโลยี
  • ทักษะการจัดการเรียนรู้
3 Key words for Science Experiences Management for Early Childhood 

1.Early Childhood 
   
  Develoment -->  4 side is body,emotion,social and intlligence

  Intelligence --> Thinking and Language
  Thinking --> Inventive and logical (Math,Science)
  How to learn --> เรียนรู้เชิงประสาทสัมผัสทั้ง 5 
  (Eyes - See , Ears -       Listen , Tongue - Tasted , Nose - ดมกลิ่น ,
  Body - Touch)
2.Science 
   Syllabus

                   - Stories about children 

                   - People and the environment 
                   - Nature
                   - สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก
                   - People and the environment 
                   - Nature
                   - สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเด็ก


Science Skills


                 - Observe Skills
                 - Skill การจำแนกประเภท
                 - Meaning Skills
                 - Skill การลงความเห็นจากข้อมูล
                 - Skill การหาความสัมพันธ์ระหว่าง สเปชกับสเปช และ   

                   สเปชกับเวลา
                 - Calculation Skills

3.Experiences Management

  • หลักการจัดประสบการณ์
  • เทคนิคการจัดประสบการณ์
  • กระบวนการจัดประสบการณ์
  • ทฤษฎีการจัดประสบการณ์
  • สื่อและสภาพแวดล้อมสนับสนุนการจัดประสบการณ์
  • Evaluation 
Technical Education
  • อาจารย์สอนแบบ Child Centered เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  • มีการใช้ Question คำถาม เพื่อให้เด็กมีการ Answer a question ตอบคำถาม
  • Gain Skills
  •  Has been critical thinking skills
  •  Has been ask and answer skills 
Adoption

 -

Teaching Evaluation 
  • อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา ใช้น้ำเสียงที่นุ่มนวล สูงต่ำ หนักเบา ได้อย่างเหมาะสม